เด็กสมาธิสั้นเป็นอย่างไร และมีวิธีแก้สมาธิสั้นได้อย่างไร

ปัญหาเล็กๆ ที่พ่อแม่หลายคู่ต้องนั่งกุมขยับ ปัญหาหนึ่งก็คือ สมาธิสั้นของลูก หรือ พฤติกรรมที่ไม่อยู่นิ่งของลูก สมาธิสั้น สั้นขนาดไหนหรือผิดปกติต้องไปปรึกษาแพทย์ แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าลูกเป็นสมาธิสั้น วันนี้เราจะพามารู้จักโรคสมาธิสั้นในเด็กกัน แล้วจะมีวิธีแก้ไขอย่างไรถ้าลูกคุณเป็นเด็กสมาธิสั้น

โรคสมาธิสั้นในเด็กทางได้จากหลายทาง สมาธิที่สั้นที่แฝงมากับความผิดปกติ, เด็กสมาธิสั้นที่แฝงมากับเด็กออทิติก, สมาธิสั้นเอง, สมาธิสั้นแบบวอกแวกไม่อยู่นิ่ง หรือทั้งสองอย่าง ซึ่งยังไม่มีสถิติที่แน่นอน แต่มีเปอร์เซ็นต์ที่เด็กเป็นสมาธิสั้นที่สูงขึ้น

 สมาธิสั้นแบ่งออกเป็น 3 แบ่ง ตามพฤติกรรม ได้แก่ 1. สมาธิสั้นแบบหุนหันพลันแล่น ไม่จดจ่อ ไม่สบตา วอกแวกง่าย 2. สมาธิสั้นแบบร่างกายไม่อยู่นิ่ง เคลื่อนไหวเร็ว ทำอะไรเร็วๆ แรงๆ อารมณ์ฉุนเฉียวง่าย 3. สมาธิสั้นแบบที่สาม คือ ผสมกันทั้งสองแบบ ภาวะสมาธิสั้นเป็นความผิดปกติของสมองซึ่งจะแสดงความผิดปกติทางผ่านด้านพฤติกรรมความผิดปกติต่างๆ 3 พฤติกรรม คือ การขาดสมาธิที่ต่อเนื่อง ซนและไม่อยู่นิ่ง ขาดการยั้งคิด หุนหันพลันแล่น ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากหลายสาเหตุร่วมกัน ซึ่งถ้าผู้ปกครองไม่สังเกตลูกและปล่อยทิ้งไว้ เด็กไม่ได้รับการรักษา บำบัดที่ถูกวิธี เด็กจะมีปัญหาเมื่อต้องเข้าสังคมในอนาคต ซึ่งเมื่อเด็กโตขึ้นการรักษาจะยิ่งยากขึ้น ส่งผลเสียกับการใช้ชีวิตของเด็กในอนาคตอย่างแน่นอน

การรักษาอาการสมาธิสั้นก็มีด้วยกันหลายวิธี คือ การพาเด็กสมาธิสั้นไปพบแพทย์ เพื่อทำการรักษาด้วยการจ่ายยาให้ทานเพื่อยับยั่งอาการ แต่ข้อเสียคือ เด็กบางคนแพ้ยา หรือ เอฟเฟกต์หลังการทานยา คือเด็กบางคนมีอาการเบลอ หรือ เหมอลอย วิธีที่สอง คือ การบำบัดด้วยวิธีธรรมชาติด้วยการฝึกสมอง ฝึกสมาธิ ไม่พึ่งเคมีบำบัด รักษาโดยการพัฒนาทักษะทางสมอง เพราะเด็กสมาธิสั้น เป็นมาจากสมอง ความสามารถของสมองของเด็กแต่ละคน ซึ่งเด็กแต่ละคนนั้นก็จะมีความสามารถทางด้านสมองที่แตกต่างกันออกไป สมองจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสามารถและประสิทธิภาพในการรับรู้และวิเคราะห์ข้อมูลในด้านต่างๆ ของเด็กแต่ละคน

ที่ สถาบัน BrainFit Studio มีหลักสูตรที่ช่วยพัฒนาสมาธิให้ดีขึ้นได้ ผ่านโปรแกรมการเรียนรู้ที่สามารถฝึกสมองและฝึกภาษาอังกฤษไปพร้อมๆกัน อีกทั้งยังช่วยพัฒนา สมาธิ ความจำ ความเร็วในการคิด และความสามารถในการเรียงลำดับก่อนหลังด้วยวิธีการที่ถูกต้อง ผ่านกิจกรรมที่สนุกสนานและผ่านการวิจัยทางประสาทวิทยามาแล้วกว่า 30 ปี การวิจัยกลไกของสมอง